ความเป็นผู้นำทางด้านเทคโนโลยี
สืบสานการสรรค์สร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
เริ่มจากสิทธิบัตรแรกสำหรับ AC Inverter ในปี พ.ศ. 2505 ต่อเนื่องไปกับการยื่นจดสิทธิบัตรอีก 8 ฉบับของเครื่องสำรองไฟฟ้าต่อเนื่อง รุ่น Eaton-9390 อาทิ DC power rectifier และ เทคโนโลยีการตรวจวัดแบตเตอรี่(battery cell measurement technology) อีตั้นมีประวัติการพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ด้วยสิทธิบัตรที่รับการยอมรับแล้วมากกว่า 264 ฉบับและอีกกว่า 178 ฉบับที่อยู่ในขั้นตอนการจดทะเบียน พวกเรายังคงรักษาประเพณีที่สืบทอดมายาวนานด้วยการใช้ความรู้ความชำนาญทางเทคนิคเพื่อจัดหาสิ่งที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าในด้านการจัดการพลังงาน2010 | เครื่องสำรองไฟ้แบบต่อเนื่อง(ยูพีเอส) รุ่น Eaton 9395 ได้รับ การรับรองจาก SMaRT ในประเทศสหรัฐอเมริกา. |
2009 | เครื่องสำรองไฟฟ้าแบบต่อเนื่อง แบบ double-conversion เครื่องแรกที่มีประสิทธิภาพสูงถึง 99% ที่ขนาด 1100 kVA |
2007 | การทดสอบการทำงานเมื่อมีโหลดโดยไม่จำเป็นต้องมีอุปกรณ์โหลดภายนอกมาต่ออยู่สำหรับเครื่องสำรองไฟฟ้าแบบต่อเนื่อง รุ่น Eaton 9395 ตั้งแต่ขนาด 225 ถึง 1100 kVA โดยวิธีการ Easy Capacity Test |
2007 | อีตั้นนำเสนอเทคโนโลยีเครื่องสำรองไฟฟ้าแบบต่อเนื่องขนาดใหญ่แบบ 3 เฟสเพื่อสิ่งแวดล้อมภายใต้สโลแกน Quantum Leap นั่นคือ Eaton 9395, ซึ่งยังออกแบบให้เป็นแบบโมดูลาร์และสามารถขยายขนาดกำลังโดยการเชื่อมต่อแบบ redundant กันภายในเครื่องได้เพื่อความมีเสถียรภาพสูงสุด |
2007 | อีตั้นนำเสนอนวัตกรรมเครื่องสำรองไฟฟ้าแบบต่อเนื่องที่มีกำลังงานต่อปริมาตรและประสิทธิภาพสูง นั่นคือ Eaton Blade ที่เป็นแบบติดตั้งในแร็ค ขนาดกำลัง 12 kVA และเป็นเครื่องสำรองไฟฟ้าแบบต่อเนื่องแบบโมดูลาร์ พร้อมด้วยคุณสมบัติ การต่อขยายระบบแบบ N+1 parallel redundant ได้ศุงสุดถึง 60 kVA พร้อมชุดจำหน่ายให้วงจรย่อยแบบโมดูลาร์ |
2005 | ยูพีเอสเครื่องแรกที่สามารถประมวลผลการจ่ายไฟฟ้าได้อย่างครบวงจร เพื่อตรวจสอบการทำงานเป็นปกติของคอนเวอร์เตอร์ภายใน และการทดสอบการใช้งานที่ไซต์โดยไม่ต้องเชื่อมต่อโหลดจากภายนอกเพิ่ม |
2005 | ยูพีเอสเครื่องแรกที่มีคุณสมบัติการคายประจุจากแบตเตอรี่โดยสมบูรณ์ ทำงานเป็นอิสระจากโหลดที่เชื่อมต่ออยู่ เพื่อทดสอบความสมบูรณ์ของแบตเตอรี่ |
2004 | ยูพีเอสแบบโมดูลาร์ที่ไม่ต้องใช้หม้อแปลงไฟฟ้า รองรับได้สูงสุด 160 kVA เป็นการผสมผสานที่ยอดเยี่ยมระหว่างสมรรถนะในการจ่ายพลังงานไฟฟ้า การจัดการแบตเตอรี่ สถาปัตยกรรมที่รองรับการขยายตัว ความยืดหยุ่น และการให้บริการที่ไม่มีผู้ใดเทียบเท่า |
2003 | ยูพีเอสขนาด 6 kVA เครื่องแรก ใช้พื้นที่ 3U เพื่อการทำงานในตู้แร็คที่ต้องการพลังงานสูง เพิ่มการจ่ายพลังงานไฟฟ้าถึง 33% |
2003 | โมดูลเรกติไฟเออร์ไฟฟ้ากระแสตรงสำหรับกำลังไฟฟ้า 3kW เครื่องแรก ซึ่งรองรับความต้องการพลังงานมากกว่า 10W/ลูกบาศก์นิ้ว |
2003 | การต่อขนานแบบไร้สายใน Generation ที่สอง สำหรับอินเวอร์เตอร์ไฟฟ้าความถี่สูง |
2002 | ยูพีเอสเครื่องแรกที่มีแหล่งจ่ายไฟแบบคู่สำหรับติดตั้งในตู้แร็ค |
2002 | ระบบไฟฟ้ากระแสตรงระบบแรกที่ส่งสัญญาณเตือนและแจ้งสถานะผ่านข้อความทางโทรศัพท์มือถือ (SMS) |
2002 | สวิตช์ฮับ 100Mbps เต็มรูปแบบตัวแรกที่ติดตั้งบนการ์ดเครือข่าย |
2001 | ระบบไฟฟ้ากระแสตรง HFSM รุ่นแรกที่ออกแบบเพื่อการประยุกต์ใช้ในระบบสารสนเทศโดยเฉพาะรวมถึง “การจ่ายไฟบนระบบ LAN” |
2001 | ระบบไฟฟ้ากระแสตรงระบบแรกที่ระบบควบคุมและตรวจสอบอุปกรณ์เสริมในตัวทำผ่านเครือข่ายได้ |
2001 | ยูพีเอสขนาด 3 kVA เพิ่มการจ่ายพลังงานไฟฟ้าได้ถึง 40% |
1998 | ระบบไฟฟ้ากระแสตรงระบบแรกที่สามารถพยากรณ์เวลาการทำงานของแบตเตอรี่ได้ |
1997 | โมดูลเรกติไฟเออร์ไฟฟ้ากระแสตรงตัวแรกที่มีการควบคุมแรงดันไฟฟ้าแบบแอกทีฟ (AVC) เพื่อควบคุมแรงดันไฟฟ้าในบัสให้มีค่า ±0.01V |
1997 | โมดูลเรกติไฟเออร์ไฟฟ้ากระแสตรงตัวแรกที่มีค่าประสิทธิภาพสูงกว่า 92% ขณะจ่ายไฟฟ้าให้โหลดทั่วไป |
1996 | ยูพีเอสเครื่องแรกที่มีการเชื่อมต่อขนานแบบไร้สาย |
1993 | ยูพีเอสเครื่องแรกที่แบ่งส่วนโหลดได้ |
1993 | ยูพีเอสเครื่องแรกที่มีเทคโนโลยี ABM เพื่อเพิ่มอายุการใช้งานของแบตเตอรี่ |
1992 | โมดูลเรกติไฟเออร์ไฟฟ้ากระแสตรงตัวแรกซึ่งรองรับความต้องการพลังงานมากกว่า 5W/ลูกบาศก์นิ้ว |
1991 | อุปกรณ์ควบคุมระบบไฟฟ้ากระแสตรงรุ่นแรกที่สั่งงานด้วยไมโครโปรเซสเซอร์ |
1989 | ยูพีเอสความถี่สูงเครื่องแรกที่ไม่ใช้หม้อแปลง |
1987 | ระบบจ่ายไฟฟ้าสำหรับตู้แร็คเครื่องแรกที่มีสวิตช์โหมดแบบความถี่สูง ออกแบบขึ้นสำหรับงานโทรคมนาคมโดยเฉพาะ |
1987 | ยูพีเอสเครื่องแรกที่ใช้เทคโนโลยี Pulse-Width Modulated (PWM) ที่ล้ำหน้าและการวินิจฉัยระบบด้วยไมโครโปรเซสเซอร์ |
1986 | ระบบจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงในเขิงพาณิชย์ ที่มีสวิตช์โหมดแบบความถี่สูงสำหรับการประยุกต์ใช้ในงานโทรคมนาคมเครื่องแรกที่รองรับพลังงานไฟฟ้าสูงถึง 200W |
1986 | ยูพีเอสเครื่องแรกที่มีขนาดมากกว่า 100 kVA สำหรับห้องคอมพิวเตอร์ |
1982 | ยูพีเอสเครื่องแรกสำหรับใช้งานในห้องคอมพิวเตอร์ |
1982 | ยูพีเอสเครื่องแรกที่ได้รับการออกแบบโดยเฉพาะเพื่อใช้ในสำนักงาน |
1976 | ยูพีเอสเครื่องแรกที่มีไฟส่องสว่าง HID ในกรณีฉุกเฉิน |
1972 | ยูพีเอสแบบต่อขนานและป้องกันการล้มเหลวของระบบเครื่องแรก |
1972 | ยูพีเอสเครื่องแรกที่ควบคุมโดยระบบดิจิตอลทั้งหมด |
1968 | ยูพีเอสในเชิงพาณิชย์รุ่นแรกที่รวมเอาที่ชาร์จแบตเตอรี่และอินเวอร์เตอร์เข้าด้วยกัน |
1962 | อินเวอร์เตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับเครื่องแรก |
รายการผลิตภัณฑ์

- พีซี เวิร์กสเตชัน และอุปกรณ์ภาพและเสียงในครัวเรือน
- Eaton 3S (550-700 VA)
- Eaton Ellipse ECO (650-1600VA)
- Eaton 5E (500-2000VA)
- Eaton 5V (650-1050 VA)
- Eaton 5S (550 - 1500VA)
- Eaton 5L (600-1000VA)
- Eaton Ellipse PRO (650-1600VA)
- เครือข่ายและเซิร์ฟเวอร์
- Eaton 5P (650-1550 VA)
- Eaton 5PX (1500-3000 VA)
- E Series DX (1-3 kVA)
- Eaton DX-RT (6 -10 kW)
- Eaton 9E (1000-3000 VA)
- Eaton 9SX (700VA-11 kVA)
- Eaton 9PX (1-3 kVA)
- Eaton 9PX (5 - 11 kVA)
- Eaton 9E (6-20 kVA)
- Eaton 9155 (8-30 KVA)
- ศูนย์ข้อมูลและศูนย์บริการต่างๆ
- Eaton 93E XL (10-40 kVA)
- BladeUPS (12-60 kW)
- Eaton 91PS and 93PS (8-30/40 kW)
- Eaton 93PR (25-200 kW)
- Eaton 93E (100-200kVA) HE UPS
- Eaton 93E (15-500 kVA)
- Eaton 93PR (500-600 kW)
- Power Xpert 9395P (250-1200 kVA)
- Power Xpert 9395 (225-1100 kVA)
- Eaton Micro Data Center
- ยูพีเอสสำหรับการใช้งานทางทะเลและนอกชายฝั่ง
- Eaton 9130 Marine (1000-3000 VA)
- Eaton 9PX Marine (1500-3000 VA)
- Eaton EX Marine (1500-3000 VA)
- Eaton 9155 Marine (8-30 kVA)
- Eaton 9355 Marine (8-40 kVA)
- Power Xpert 9395 Marine (225-1100 kVA)
- DC Power